ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
เมนูหลัก
ประวัติความเป็นมา
ติดต่อสอบถาม
หนังสือ
เอกสารยื่น ศ.ต.ภ.
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
พระพุทธรูป
ศิลปะคันธาระ
ศิลปะคุปตะ
ศิลปะปาละ
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
ข้อมูลแดนพุทธภูมิ
แผนที่แดนพุทธภูมิ
พุทธคยา
ราชคฤห์-นาลันทา
ปัตนะ
ไวสาลี
เกสริยา
กุสินารา
กบิลพัสดุ์
กบิลพัสดุ์ ฝั่งอินเดีย
นิโครธาราม
รามคามสถูป นครเทวทหะ
ลุมพินี
สาวัตถี
สังกัสสนคร
สารนาถ
โกสัมพี
แคว้นอวันตี
Flag Counter
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลพุทธสถาน
สาญจี
ถ้ำอชันตา
ถ้ำเอลโลร่า
ถ้ำออรังกาบัด
ถ้ำกัณเหรี
อโยธยา
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลอินเดีย
นิวเดลี
อัครา
ฟาเตห์ปูร์ สิครี
ราชสถาน
หริทวาร, ฤาษีเกษ
จัมมู - แคชเมียร์
เลห์-ลาดักห์
อัมริตสาร์
มะนาลี-ชิมลา
ดารัมชาลา
เมืองลัคเนา
โกลกาตา
สะสาราม
พาราณสี
นิลกาย
มุมไบ
ข้อมูลอินใต้
ข้อมูลอินเดียใต้
รัฐเตลังคานา
เมืองกาญจีปุรัม
ฮัมปิ
ข้อมูลศรีลังกา
ข้อมูลศรีลังกา
ไหว้พระศรีลังกา
ข้อมูลอินโดนีเซีย
ข้อมูลอินโดนีเซีย
บุโรพุทโธ บาหลี
ข้อมูลพม่า
ข้อมูลพม่า
ย่างกุ้ง/ ไจโท้/หงสา/ สิเรียม
มัณฑะเลย์/พุกาม/อินเล/
ข้อมูลสิงคโปร์
ข้อมูลสิงคโปร์
สิงคโปร์
ข้อมูลมาเลเซีย
ข้อมูลมาเลเซีย
มาเลเซีย
ข้อมูลกัมพูชา
ข้อมูลกัมพูชา
เสียมเรียบ/นครวัด/นครธม
ข้อมูลลาว
ข้อมูลลาว
เวียงจันทร์/วังเวียง
หลวงพระบาง
ลาวใต้
ข้อมูลลาว
ข้อมูเวียดนาม
ฮานอย/ซาปา
ดานัง
โฮจิมินห์
ข้อมูลอินเดีย
โปรแกรมทัวร์ เดินทางคนเดี่ยว
สี่สังเวชฯ+อัครา+ราชสถาน+เดลี(21วัน)
สี่สังเวชฯ+สาญจี+อชันตา+เอโลร่า+มุมไบ (14วัน)
สี่สังเวชฯ+อัครา,ทัชมาฮาล+จัยปูร์+เดลี(11วัน)
ข้อมูลลาว
ข้อมูลทวีปยุโรป
กรุงเทพ-ลอนดอน
อิตาลี
อังกฤษ
สังกัสสนคร (Sankisa, Sankassa, Sankasya)

สังกัสสนคร (Sankisa, Sankassa, Sankasya)
ประตูสวรรค์


สังกัสสนคร (Sankisa, Sankassa, Sankasya)



สังกัสสนคร (Sankisa, Sankassa, Sankasya) สังกัสสะนคร สังกัสสะนครในอดีต ตั้งอยู่เขตแคว้นปัญจาละ ปัจจุบันตั้งอยู่ ระหว่างเมืองลัคเนาว์กับเมืองอัครา ห่างจากเมืองกานปุรี ๘๗ ไมล์ ห่างจากสาวัตถี ๙๐ ไมล์ ปัจจุบันอยู่เขตอำเภอฟารรุกขนาด รัฐอุตตร ประเทศ ตามประวัติศาสตร์อินเดีย ได้กล่าวไว้ว่า สังกัสสะเป็นเมืองที่ ยิ่งใหญ่ มีพระพุทธศาสนาที่เจริญรุ่งเรือง

พ.ศ. ๑๗๒๖ บรรดาพราหมณ์ยุยงราชาไชยจันทร์แห่งเมือง กาเนาช์ ยกทัพทำ ลายพุทธ เพราะเกรงว่าในอนาคตพุทธอาจจะเป็น ภัยต่อฮินดู สภาพที่ปรากฏปัจจุบันคือเป็นเศษกองอิฐ ดร. รามรุท สิงห์ นักประวัติศาสตร์ทางพระพุทธศาสนาแห่ง มหาวิทยาลัยมคธ รัฐหาร ได้กล่าวว่า พราหมณ์ถือว่าสังกัสสะเป็นเมือง ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่ง ซึ่งปรากฏในคัมภีร์รามายณะ เรียกว่า “สังคัสสะ”

สังกัสสะในสมัยพุทธกาล
ในพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรงแสดง ยมกปกฏิหาริย์แล้ว เสด็จขึ้นไป ณ บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์บนสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ ทรงจำ พรรษาตลอด ๓ เดือน ทรงแสดงพระธรรมเทศนา อภิธรรม ๗ คัมภีร์โปรดพุทธมารดา และเหล่าทวยเทพยดาทั้งหลาย พอถึงวันปวารณา เสด็จสู่เมืองมนุษย์ พระโมคคัลลานะแสดง ปาฏิหาริย์ เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ทูลถามพระองค์จะเสด็จลงมาสู่โลกมนุษย์ ณ ที่ใด พระองค์ตรัสถามว่า พระสารีบุตรจำพรรษาที่ใด เมื่อทราบว่าท่านทั้งสองจำ พรรษาที่นครสังกัสสะ พระพุทธองค์จึงเสด็จลงสู่โลกมนุษย์ที่ใกล้ประตูเมือง สังกัสสะนครท่ามกลางพรหม ที่แวดล้อมเป็นบริวาร

ลำ ดับเหตุการณ์สังกัสสะนคร
หลวงจีนฟาเหียน เรียกว่า สังเกียส ประวัติศาสตร์ในยุคหลัง ปรินิพพานไม่ชัดเจนนัก ทราบเพียงส่วนที่กล่าวไว้ในสังคีติ คือการทำ สังคายนาครั้งที่ ๒ ที่พระเถระชื่อว่า เรวตะ มาพักที่นครสังกัสสะ และได้เดินทางไปร่วมประชุมที่ วาลิการาม เมืองไวสาลี ตามบันทึก ของท่านยังกล่าวไว้ว่า บริเวณสังกัสสะมีอาณาเขตถึง ๒,๐๐๐ ลี้ มี วัดทางพระพุทธศาสนา ๔ วัด มีพระสงฆ์ ๑,๐๐๐ รูป ทั้งหมดเป็น ฝ่ายมหายาน นิกายสัมมิติยะ มีเทวาลัยอยู่ ๑๐ แห่ง และในเมืองนี้ ยังมีนักบวชนอกพระพุทธศาสนาอยู่เป็นจำ นวนมาก

สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช เสด็จธรรมยาตราตรงบริเวณที่ พระพุทธเจ้าเสด็จลงสู่มนุษยโลก เมื่อเสด็จพื้นดินบันไดทั้ง ๓ ก็ อันตรธานเหลือให้เห็นเพียง ๗ ชั้น พระเจ้าอโศกมหาราช ให้ทำ การ ขุดดูลึกลงไปถึงบาดาล ก็ยังไม่สิ้นสุด พระองค์มีพระราชศรัทธายิ่ง จึงสร้างอุโบสถคลุมบันไดไว้พร้อมกับโปรด ฝังเสาหินศิลาจารึก และ ประดิษฐานสิงโตไว้บนยอดเสา ตามเรื่องยังเล่าให้เห็นความมหัศจรรย์ ของสิงห์โตไว้อีกหลายมุม

หลวงจีนถังซำ จั๋ง (พ.ศ. ๑๓๐๐) ได้บันทึกถึงจดหมายเหตุนคร สังกัสสะ ว่าพลเมืองที่อยู่อาศัย มีกิริยานุ่มนวล พวกผู้ชายตั้งหน้าตั้ง ตาเล่าเรียน มีสังฆารามใหญ่ ประดิษฐานพระพุทธรูปวิจิตร ในบริเวณ สังฆารามมีบันได ๓ ชั้น ตั้งเรียงกันเป็นที่หมายให้รู้ว่าพระบรมศาสดา เสด็จลงจากดาวดึงส์สวรรค์สู่โลกมนุษย์ที่แห่งนั้น ซึ่งปัจจุบันนี้มีแต่เพีง แต่ซากอุโบสถเป็นเสมือนกองดินเนินสูงขึ้นไป เบื้องล่างใกล้เคียงกันมี เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช ส่วนบนเป็นรูปช้างแต่ก็ถูกทำ ลายลงเหลือ แค่เพียงคอเท่านั้น พบศิลาจารึกพระอโศกสูงประมาณ ๗๐ ฟุต ตั้งอยู่ข้างวิหาร ยามต้องแสงอาทิตย์ สะท้อนสีชมพูแวววับ ทำ จากหินอย่างดี มีสิงโต หมอบตั้งอยู่บนยอดเสา หันหน้าทางบันไดทั้งสามนั้น และข้างเสาหิน พระเจ้าอโศก ได้เห็นสถูปและพระวิหารที่พระพุทธองค์เสด็จเข้าสมาธิ ข้างวิหารมีกำ แพงยาว ๕ ก้าว สูง ๒ ฟุต เป็นที่พระบรมศาสดาเดิน จงกรมเป็นรูปดอกบัวเป็นเครื่องหมายอยู่บนกำ แพง อย่างเดียวกันกับ ที่พุทธคยา

ศาสตราจารย์เซอร์คันนิ่งแฮม หลังจากได้ศึกษาค้นคว้า จดหมายเหตุของหลวงจีนทั้ง ๒ คือ หลวงจีนฟาเหียน และหลวงจีน ถังซำจั๋ง ที่ได้เดินทางมาสืบศาสนาในอินเดีย คณะทำ งานทำ การสำ รวจ โบราณสถานที่สังกัสสะ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๕ (ค.ศ.๑๘๔๒) ได้พบซาก วิหาร กำ แพง และพุทธปฏิมากรบางส่วนเท่านั้น


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya),


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)
รูปช้าง

สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)


สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)
วัดนานาชาติ ประเทศกัมพูชา

สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)
วัดนานาชาติ ประเทศเมียนม่า

สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)
บริเวณโดยรอบ

สังกัสสนคร, (Sankisa, Sankassa, Sankasya)
ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เส้นทางลัคเนาว์ - อัครา







โพธิสิกขาลัย (Bodhisikkhalai)
โทร 0-3587-3065, 085-7777-184 แฟกซ์ 0-3587-3058
Line ID: 0857777184
เว็บไซต์ : www.bodhisikkhalai.com
อีเมล: bodhisikkhalai@gmail.com


Copyright © 2011 All Rights Reserved