ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
|
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
|
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
|
|
|
|
|
|
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลอินใต้
|
ข้อมูลศรีลังกา
|
ข้อมูลอินโดนีเซีย
|
ข้อมูลพม่า
|
ข้อมูลสิงคโปร์
|
ข้อมูลมาเลเซีย
|
ข้อมูลกัมพูชา
|
ข้อมูลลาว
|
ข้อมูลลาว
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลทวีปยุโรป
|
ข้อมูลทวีปแอฟริกา (Africa)
|
ข้อมูลทวีปอเมริกา (America)
|
|
อัมริตสาร์ อมฤตสาร์ (Amritsar) รัฐปัญจาบ (Punjab)
วิหารทองคํา, วิหารฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
ด่านพรมแดนระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน (Wagah Border)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคำ/ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib /Golden Temple) ที่สถิตของพระผู้เป็นเจ้า สถานที่อันเป็นที่ยกย่องว่าศักดิ์สิทธิ์ และสำคัญสูงสุดของศาสนาซิกข์ ศาสนสถานสุดตระการตา
ที่ตั้ง: เมืองอมฤตสาร์ รัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย
พระวิหารฮัรมัรดิร ซาฮิบ นั้นเป็นศาสนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์มากที่สุดแห่งหนึ่งของศาสนาซิกข์ พระวิหารแห่งนี้เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในนามของ พระวิหารดัรบาร ซาฮิบ หรือพระสุวรรณวิหาร พระวิหารแห่งนี้ตั้งอยู่ในเมืองอัมริตซาร์ ประเทศอินเดีย พระวิหารนี้เป็นสถานที่สำคัญที่ ชาวซิกข์ทุกคนปรารถนาที่จะมาเยี่ยมคารวะและได้ลงไปอาบน้ำในสระอันศักดิ์สิทธิ์ ณ พระวิหารแห่งนี้
ประวัติของพระวิหารฮัรมันดิร ซาฮิบ แห่งนี้ เริ่มต้นที่ ท่าน คุรุ อมัรดาส ยิ ผู้ซึ่งเป็นผู้ซึ่งริเริ่มให้มีการสร้างศาสนสถานสำหรับชาวซิกข์ทั้งปวง ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญที่เป็นแรงจูงใจให้ท่านพระศาสดาเกิดความคิดในการสร้างศาสนสถานนี้ขึ้นมาก็คือ การสืบทอดวัฒนธรรมของการสร้างศาสนสถานแห่งใหม่ขึ้นมา เพื่อให้ชาวซิกข์ทั้งหลายได้ใช้เป็นสถานที่ในการร่วมชุมนุมกันอย่างพร้อมเพรียง ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ปฏิบัติสืบทอดมาจากพระศาสดาองค์ก่อนหน้าท่านนั่นเอง
ปัจจัยที่สองที่ช่วยทำให้การสร้างพระวิหารนี้สำเร็จ ก็คือ ท่าน คุรุ รามดาส ยิ ผู้ซึ่งรักความสงบสุข โดยท่านได้ปฏิบัติตามคำสั่งของท่าน คุรุ อมัรดาส ยิ ที่ได้สั่งให้ท่านไปสร้างเมืองใหม่ และได้สั่งให้ไปขุดบ่อน้ำ และก่อสร้างศาสนสถานสำหรับชาวซิกข์ทั้งหลาย นอกจากนี้ ท่าน คุรุ อมัรดาส ยิ ยังได้ช่วยสร้างแผนการขุดบ่อน้ำ ซึ่งต่อมาได้ถูกนำไปปฏิบัติโดย ท่าน คุรุ รามดาส ยิ โดยมีท่าน บาบา บุดดา ยิ เป็นผู้ช่วยคนสำคัญ การก่อสร้างบ่อน้ำ (โซราวอร์) ได้เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1570 โดยได้เริ่มการก่อสร้างเมือง ควบคู่กันไปด้วย จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1577 การก่อสร้างบ่อน้ำ 2 บ่อ คือ บ่อน้ำซันโตคซาร์ และบ่อน้ำอัมริตโซราวอร์ (ซึ่งได้ก่อสร้างในบริเวณใกล้เคียงกับบ่อแรก แต่ได้สร้างให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าบ่อแรก) และการก่อสร้างเมืองเพื่ออยู่อาศัยได้แล้วเสร็จ ซึ่งต่อมาเมืองนี้ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นเมืองรามดาสปูรในปัจจุบัน
ท่านพระศาสดาและลูกศิษย์ทั้งหลายของท่านต่างก็มีความยินดีปรีดาและร่วมฉลอง งานเปิดพระวิหารอันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้เป็นศูนย์กลางทางศาสนาของซิกข์ทั้ง ปวง นอกจากนี้ ท่าน คุรุ รามดาส ยิ ยังได้แต่งบทเพลงอันไพเราะเพื่อเป็นการสรรเสริญบ่อน้ำโซราวอร์อัน ศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ และได้สั่งให้ลูกศิษย์ทุกคนลงไปอาบน้ำในบ่อน้ำนี้แล้วทำการสวดมนต์ภาวนาและ ทำสมาธิเพื่อระลึกถึงพระนามของพระเจ้าอย่างสม่ำเสมอ ต่อมาไม่นานนัก สถานที่แห่งนี้ก็ได้รับการขนานนามเป็นสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์และเป็นศูนย์ กลางทางศาสนาของชาวซิกข์ทั่วโลก
วิหารทองคํา วิหารฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
อัมริตสาร์ อมฤตสาร์ (Amritsar) รัฐปัญจาบ (Punjab)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
วิหารทองคํา, ฮัรมันดิร ซาฮิบ (Harmandir Sahib, Golden Temple)
ด่านพรมแดนระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน (Wagah Border)
ด่านพรมแดนระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน (Wagah Border) พิธีการเปลี่ยนเวรยามของทหารอินเดียและปากีสถาน มีการประชันลีลาต่างๆ แข่งขันกันแบบชนิดที่ว่าไม่ยอมน้อยหน้ากันเลยทีเดียว สร้างความสนุกสนานและตื่นตาตื่นใจแก่นักท่องเที่ยวที่ได้มาชม
ด่านพรมแดนระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน (Wagah Border)
ด่านพรมแดนระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน (Wagah Border)
ด่านพรมแดนระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน (Wagah Border)
|
|