ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
|
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
|
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
|
|
|
|
|
|
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลอินใต้
|
ข้อมูลศรีลังกา
|
ข้อมูลอินโดนีเซีย
|
ข้อมูลพม่า
|
ข้อมูลสิงคโปร์
|
ข้อมูลมาเลเซีย
|
ข้อมูลกัมพูชา
|
ข้อมูลลาว
|
ข้อมูลลาว
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลทวีปยุโรป
|
ข้อมูลทวีปแอฟริกา (Africa)
|
ข้อมูลทวีปอเมริกา (America)
|
|
ถ้ำกัณเหรี (Kanheri Caves)
ถ้ำกัณเหรี เป็นถ้ำทางพระพุทธศาสนา ที่มีการสกัดหินและขุดเจาะภูเขา (Rock Cut Temple) เพื่อนำมาทำเป็นวัด โบสถ์ ศาลา วิหาร และที่พำนักของพระภิกษุสงฆ์ มีจำนวนทั้งหมด 109 ถ้ำ ซึ่งกระจัดกระจายไปตามไหล่เขา
คำว่า กัณ-เห-รี (Kanheri) เพี้ยนมาจากคำว่า กฤษณคีรี (Krishnagiri) แปลว่าภูเขาหินสีดำ
ถ้ำเหล่านี้ เริ่มสร้างต้นพุทธศตวรรษที่ 5-14
ในอินเดียตะวันตกนี้ มีลักษณะสำคัญอยู่ 2 ช่วง
ยุคแรก พระสายหินยาน นิกาย"ภัทรยานี" (เถรวาท แบบพระไทย, ศรีลังกา) เริ่มมาสร้างก่อน หรือ กลางพุทธศตวรรษที่ 5
ยุคหลัง พระสายมหายาน (จีน, ญีปุ่น)มาที่หลัง
พุทธศตวรรษที่ 6 มีถ้ำอีกถ้ำหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยศรียัชญา สาตการณี หรือ โคตมีบุตรที่ 2 มีที่นั่งที่ทำด้วยหิน เพื่อให้พระภิกษุ ใช้เป็นที่พักผ่อน มีป่าไม้อันรื่นรมย์ และมีธารน้ำ อันเยือกเย็น ในบริเวณนี้ แสดงให้เห็นถึง ความรักในธรรมชาติ มีความเป็นอยู่ ที่เรียบง่าย สงบ และไม่วุ่นวาย ของพระสงฆ์
จากคำจารึกในถ้ำที่ 76 กล่าวว่า นิกายอปรไศล ในพระพุทธศาสนา ได้อาศัยอยู่ ในวัดที่กันเหรีนี้ด้วย
กุฏิบางห้อง มีการเจาะทำที่เก็บน้ำฝน
ตามคติความเชื่อแล้ว เป็นที่เข้าใจดีสำหรับพระพุทธรูป จะสร้างขึ้นในสายมหายาน ส่วนเถรวาทนิยมสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิธาตุครูอาจารย์ เป็นต้น
ถ้ำกัณเหรี จัดอยู่ในวรรณอุทยานแห่งชาติสันเจ คานธี (sanjay gandhi national park) เมืองมุมไบ บนเนื้อที่มากกว่า 2,500 ไร่ ห่างจากจากสนามบิน 19 กิโลเมตร ประมาณ 1 ชั่วโมง ห่างจากเกตเวย์ (Gateway of india mumbai) ราวประมาณ 50 กิโลเมตร ภายในอุทยานมีสถานที่เข้าชมหลายอย่างอาทิเช่น สวนสัตว์ เป็นต้น การเดินทางไปมาสะดวกมาก
ถ้าไปชมในช่วงฤดูฝนจะมีธารน้ำไหลตลอด ถ้าเป็นช่วงหมดฝน น้ำจะไม่มี
พระกิตติพงษ์ จิตฺตคุตฺโต แปลและเรียบเรียง
ทางเข้าถ้ำ
ประวัติถ้ำ
ถ้าหมายเลข1
ถ้าหมายเลข2
ถ้าหมายเลข2 พระสถูป
ถ้าหมายเลข2 พระสถูป
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข3
ถ้าหมายเลข4 พระสถูป
ถ้าหมายเลข 5
ถ้าหมายเลข 67
ถ้าหมายเลข 67
ถ้าหมายเลข 67
ถ้าหมายเลข 67
ถ้าหมายเลข 67
ถ้าหมายเลข 67
ถ้าหมายเลข 67
บริเวณรอบถ้ำ
บริเวณรอบถ้ำ
สะพานข้ามไปดูถ้ำอีกฝั่ง
|
|