ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
|
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
|
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
|
|
|
|
|
|
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลอินใต้
|
ข้อมูลศรีลังกา
|
ข้อมูลอินโดนีเซีย
|
ข้อมูลพม่า
|
ข้อมูลสิงคโปร์
|
ข้อมูลมาเลเซีย
|
ข้อมูลกัมพูชา
|
ข้อมูลลาว
|
ข้อมูลลาว
|
ข้อมูลอินเดีย
|
ข้อมูลทวีปยุโรป
|
ข้อมูลทวีปแอฟริกา (Africa)
|
ข้อมูลทวีปอเมริกา (America)
|
|
รัฐราชสถาน (Rajasthan)
รัฐราชสถาน (Rajasthan) ชัยปุระ (ฮินดี: ?????, อักษรโรมัน: Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1727 โดยมหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ที่ 2" เจ้าครองนครอาเมร์ (Amer) ในปัจจุบันชัยปุระยังเป็นที่รู้จักกันดีในอินเดียว่า "นครสีชมพู"ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย ติดกับประเทศปากีสถาน เมืองหลวง : คือเมืองชัยปุระ (Jaipur) หรือ จัยปูร์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของรัฐราชสถาน คือ ทะเลทราย Thar
แผนที่รัฐราชสถาน
เมืองชัยปุระ (Jaipur)
ชัยปุระ (ฮินดี: ?????, อักษรโรมัน: Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1727 โดยมหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ที่ 2" เจ้าครองนครอาเมร์ (Amer) ในปัจจุบันชัยปุระยังเป็นที่รู้จักกันดีในอินเดียว่า "นครสีชมพู"
- ประตูปราการ, ประตูปาตริกา (Patrika Gate)
- พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal)
- หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
- ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
- จาล มาฮาล (Jal Mahal)
- อัลเบิร์ตฮอลล์ (Albert Hall)
- ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
บ่อน้ำโบราณแบบขั้นบันได, พานนา มีนา กา คุนด์ สเต็ปเวล (Panna Meena Ka Kund Step Wells)
- เบียร์ล่ามันเดียร์ (Birla Mandir) หรือ วัดลักษมีนารายัน (Laxmi Narayan)
- วัดพระพิฆเณศ (Ganesh temple)
ประตูปราการ, ประตูปาตริกา (Patrika Gate)
พระราชวังหลวง (City Palace)
พระราชวังหลวง (City Palace)
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal) แปลว่าพระราชวังแห่งสายลม
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal) แปลว่าพระราชวังแห่งสายลม
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal) แปลว่าพระราชวังแห่งสายลม
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal) แปลว่าพระราชวังแห่งสายลม
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal) แปลว่าพระราชวังแห่งสายลม
หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort) ป้อมไทเกอร์ (Tiger Fort) สร้างในปี ค.ศ. 1734 ในสมัยมหาราชาสะหวายจัย ซิงห์ที่ 2
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
2. จาล มาฮาล (Jal Mahal) พระราชวังกลางน้ำซึ่งตั้งเด่นสง่าอยู่กลางทะเลสาบมันสกา (Man Sagar)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort) หรือ ป้อมแอมเบอร์ (Amber Fort) ตั้งอยู่ที่เมืองแอมแมร์ รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย สร้างโดยมหาราชามาน สิงห์ที่ 1 ด้านสถาปัตยกรรมผสมผสานกันระหว่างศิลปะฮินดูและศิลปะราชปุต
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
บ่อน้ำโบราณแบบขั้นบันได, พานนา มีนา กา คุนด์ สเต็ปเวล (Panna Meena Ka Kund Step Wells) ที่นี่คือบ่อน้ำโบราณแบบขั้นบันไดใจกลางเมือง ตั้งอยู่ใกล้ๆ กับแอมเบอร์ฟอร์ต
4. อัลเบิร์ตฮอลล์ (Albert Hall) หรือพิพิธภัณฑ์กลางของเมืองชัยปุระ สถาปัตยกรรมของอังกฤษ ด้านในจะจัดแสดงวิถึชีวิตของชนกลุ่มน้อยในราชสถาน และยังมีห้องสมุด และภาพวาดแบบย่อส่วน (Miniature Painting) ในสมัยของโมกุล
5. เบียร์ล่ามันเดียร์ (Birla Mandir) หรือ วัดลักษมีนารายัน (Laxmi Narayan) เป็นวัดฮินด สร้างโดยมหาเศรษฐีชาวอินเดีย
วัดพระพิฆเณศ (Ganesh temple) สร้างขึ้นโดย เสธอึ๊ง รามปาลีวาล ในช่วงต้นศตวรรษที่ 18
ของฝากจากจัยปูร์
เมืองแอชแมร์ (Ajmer)
เมืองอาชแมร์ (Ajmer)
ทะเลสาบพุชการ์ (Pushkar Lake)
- เทศกาลอูฐ (Pushkar Camel Fair)
- วัดพราหมณ์ (Brahma temple)
- วัดรังจีใหม่ (New Rangji Temple)
- วัดรังจีเก่า (Old Rangji Temple)
- กูรูดัวรา (Gurudwara)
ตัวเมืองแอชแมร์
- วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
- พิพิธภัณฑ์แอชแมร์ (Museum Ajmer)
- ป้อมตาราการห์ (Taragarh Fort Ajme)
ทะเลสาบพุชการ์ (Pushkar Lake)
เทศกาลอูฐ (Pushkar Camel Fair)
วัดพราหมณ์ (Brahma temple)
วัดรังจีใหม่ (New Rangji Temple)
วัดรังจีเก่า (Old Rangji Temple)
กูรูดัวรา (Gurudwara)
กูรูดัวรา (Gurudwara)
ตัวเมืองแอชแมร์
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
หอนาฬิกา
พิพิธภัณฑ์ เมืองแอชแมร์ (Ajmer)
พิพิธภัณฑ์ เมืองแอชแมร์ (Ajmer)
ป้อมตาราการห์ (Taragarh Fort Ajmer)
ร้านอาหาร เมืองแอชแมร์ (Ajmer)
อุไดปูร์ (Udaipur)
อุไดปูร์ (Udaipur) เมืองท่องเที่ยวที่รู้จักกันในชื่อ เวนิสแห่งตะวันออก และ เมืองแห่งทะเลสาบ
- พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
- ทะเลสาบพิโคล่า (Pichola)
- วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
- กระเช้า (Rope way)
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
ทะเลสาบพิโคล่า (Pichola)
วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
กระเช้า (Rope way)
หอนาฬิกา
จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
จ๊อดปูร์ (Jodhpur) เมืองโรแมนติกแห่งนครสีฟ้า จ๊อดปูร์ (Jodhpur) หรือเมือง โยธะปุระ นครนักรบ ที่ทั่วทั้งเมืองเป็นสีฟ้าราวกับน้ำทะเล เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในแคว้นราชาสถาน ถูกตั้งขึ้นเป็นราชธานี โดย Rao Jodha แห่งราชวงศ์Rathor
เมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูวรรณะพราหมณ์เท่านั้น แต่ต่อมา มีความเชื่อว่า สีฟ้าจะช่วยกันแมลงและทำให้บ้านเย็นในฤดูร้อน ผู้คนจึงพากันทาบ้านตัวเองด้วยสีฟ้า จนกลายเป็นสัญญลักษณ์ของเมืองจ๊อดปูร์
- ป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort)
- อนุสรณ์สถานจัสวันต์ธาดา (Jaswant Thada)
- อูเมด ภาวัน (Umaid Bhawan)
ป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort) เป็น 1 ใน 4 พระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
ภายในป้อมเมห์รานการห์ จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
อนุสรณ์สถานจัสวันต์ธาดา (Jaswant Thada) สร้างจากหินอ่อน จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
อูเมด ภาวัน (Umaid Bhawan) สร้างขึ้นสร้างเมื่อ พ.ศ. 2472 มีอายุแค่ 76 ปี
สร้างโดย มหาราชาอุเมด ซิงห์ (MAHARAJA UMAID SINGH) มีห้องทั้งหมด 347 ห้อง ใช้เวลาสร้าง 15 ปี ตัวพระราชวังได้รับการออกแบบจากสองสถาปนิกชาวอังกฤษ ตกแต่งแบบ อินโด-โคโลเนียล สร้างด้วยหินทรายสีเนื้อ อยู่บนเนินเขาสูง จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
หอนาฬิกา (clock tower) จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer) นครสีทอง เนื่องจากอาคารบ้านเรือนสร้างด้วยหินทรายสีเหลืองนวล โดยตั้งอยู่บนที่ราบสูงทะเลทรายธาร์ (Thar Desert) เป็นเมืองชายแดนติดพรมแดนปากีสถาน อีกทั้งในอดีตเคยเป็นเส้นทางการค้าที่ สำคัญ ระหว่างอินเดียกับตะวันออกกลาง
5. เมืองจัยสอลแมร์ (Jaisalmer)
- ทะเลทราย (Desert)
- ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort)
- วัดเชน (Jain Temple)
- วัดพระราชวัง (Mandir Palace)
- พิพิธภัณฑ์โกธารี (Kothari's Patwa Haveli Meseum)
- ทะเลสาบ (Lake)
ทะเลทราย เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ทะเลทราย เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ทะเลทราย เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ทะเลทราย เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ทะเลทราย เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
พลังกังหันลม เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ทะเลทราย เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort) เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort) เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort) เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort) เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort) เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer)
วัดเชน (Jain Temple)
วัดพระราชวัง (Mandir Palace)
วัดพระราชวัง (Mandir Palace)
พิพิธภัณฑ์โกธารี (Kothari's Patwa Haveli Meseum)
พิพิธภัณฑ์โกธารี (Kothari's Patwa Haveli Meseum)
พิพิธภัณฑ์โกธารี (Kothari's Patwa Haveli Meseum)
พิพิธภัณฑ์โกธารี (Kothari's Patwa Haveli Meseum)
ทะเลสาบ (Lake)
ทะเลสาบ (Lake)
ทะเลสาบ (Lake)
เมืองบิคาเนอร์ (Bikaner)
ป้อมจูนนาการ์ (Junagarh Fort) หรือ ป้อมสีแดงแห่งเมืองบิคาเนอร์
เมืองบิคาเนอร์ (Bikaner) สมัยอดีตยังไม่มีเมืองบิคาเนอร์ บริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Mawar Land of the Dead พ่อค้าตามเส้นทางสายไหม ยังต้องใช้ผ่านไปมา จึงมีโจรหลายก๊ก ยึดครองพื้นที่หย่อมเล็กหย่อม และยังไม่มีใครครอบครองดินแดนแห่งนี้ เจ้าชาย Rao Bika แห่งแคว้นโยธปุระ (จ๊อดปูร์) เกิดความน้อยใจในคำพูดพระบิดา จึงตัดสินใจมุ่งหน้าเดินทางก่อนลงหลักปักฐานต่อสู้กับพวกโจร นำความร่มเย็นเข้ามาสู่ดินแดนแห่งความตาย
วิหารคาร์นีมาทา (Karni mata Temple) หรือ วัดเทพเจ้าหนู
วิหารคาร์นีมาทา (Karni mata Temple) หรือ วัดเทพเจ้าหนู สร้างขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 15 สร้างเพื่ออุทิศ ให้แด่หนูที่มีความเชื่อ ว่าเป็นเหล่าลูกหลานของเทพธิดา Karni mata ที่เป็นร่างอวตารของเทพธิดา Durga (เทพธิดาแห่งพลัง และชัยชนะ) ซึ่งเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาฮินดู ที่ผู้ศรัทธาจะนำนม อาหารดีๆ มามอบให้แด่หนูเหล่านี้
วิหารคาร์นีมาทา (Karni mata Temple) หรือ วัดเทพเจ้าหนู
วิหารคาร์นีมาทา (Karni mata Temple) หรือ วัดเทพเจ้าหนู
วิหารคาร์นีมาทา (Karni mata Temple) หรือ วัดเทพเจ้าหนู
วิหารเชน เมืองรานัคปูร์ (Jain Temple, Ranakpur)
เมืองรานัคปูร์ (Ranakpur) วิหารเชน (Jain Temple) เป็นวิหารของศาสนาเชน สร้างโดยคหบดี Dharna Sah เมื่อเกือบ 500 ปีก่อน ภายในประกอบด้วยห้องโถงกว่า 24 ห้อง โดมทั้งหมด 80 โดม และเสาถึง 1,144 ต้น เสาแต่ละต้นจะถูกแกะสลักอย่างงดงามมาก คิดเป็นพื้นที่แกะสลักกว่า 3,000 ตารางเมตร ทั้งหมดถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีเยี่ยม เมื่อสร้างวัดนี้จำเป็นต้องสร้างเมืองขึ้นมาเพื่อเป็นที่อาศัยของคนงานนับหมื่น และเป็นสถานที่ ที่สำคัญแห่งหนึ่งซึ่งผู้คนเดินทางมาเพื่อแสวงบุญ ทั้งยังเป็นที่ที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญมากสำหรับผู้นับถือศาสนาเชน เมืองดังกล่าวตั้งชื่อว่า "รานัคปูร์" เพื่อเป็นเกียรติแด่มหารานา แห่งราชาอาณาจักร ผู้อนุญาตให้สร้างวัด
|
|