ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
เมนูหลัก
ประวัติความเป็นมา
ติดต่อสอบถาม
หนังสือ
เอกสารยื่น ศ.ต.ภ.
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
พระพุทธรูป
ศิลปะคันธาระ
ศิลปะคุปตะ
ศิลปะปาละ
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
ข้อมูลแดนพุทธภูมิ
แผนที่แดนพุทธภูมิ
พุทธคยา
ราชคฤห์-นาลันทา
ปัตนะ
ไวสาลี
เกสริยา
กุสินารา
กบิลพัสดุ์
กบิลพัสดุ์ ฝั่งอินเดีย
นิโครธาราม
รามคามสถูป นครเทวทหะ
ลุมพินี
สาวัตถี
สังกัสสนคร
สารนาถ
โกสัมพี
แคว้นอวันตี
Flag Counter
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลพุทธสถาน
สาญจี
ถ้ำอชันตา
ถ้ำเอลโลร่า
ถ้ำออรังกาบัด
ถ้ำกัณเหรี
อโยธยา
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลอินเดีย
นิวเดลี
อัครา
ฟาเตห์ปูร์ สิครี
ราชสถาน
หริทวาร, ฤาษีเกษ
จัมมู - แคชเมียร์
เลห์-ลาดักห์
อัมริตสาร์
มะนาลี-ชิมลา
ดารัมชาลา
เมืองลัคเนา
โกลกาตา
สะสาราม
พาราณสี
นิลกาย
มุมไบ
ข้อมูลอินใต้
ข้อมูลอินเดียใต้
รัฐเตลังคานา
เมืองกาญจีปุรัม
ฮัมปิ
รัฐอานธรประเทศ
ข้อมูลศรีลังกา
ข้อมูลศรีลังกา
ไหว้พระศรีลังกา
ข้อมูลอินโดนีเซีย
ข้อมูลอินโดนีเซีย
บุโรพุทโธ บาหลี
ข้อมูลพม่า
ข้อมูลพม่า
ย่างกุ้ง/ ไจโท้/หงสา/ สิเรียม
มัณฑะเลย์/พุกาม/อินเล/
ข้อมูลสิงคโปร์
ข้อมูลสิงคโปร์
สิงคโปร์
ข้อมูลมาเลเซีย
ข้อมูลมาเลเซีย
มาเลเซีย
ข้อมูลกัมพูชา
ข้อมูลกัมพูชา
เสียมเรียบ/นครวัด/นครธม
ข้อมูลลาว
ข้อมูลลาว
เวียงจันทร์/วังเวียง
หลวงพระบาง
ลาวใต้
ข้อมูลลาว
ข้อมูเวียดนาม
ฮานอย/ซาปา
ดานัง
โฮจิมินห์
ข้อมูลอินเดีย
โปรแกรมทัวร์ เดินทางคนเดี่ยว
สี่สังเวชฯ+อัครา+ราชสถาน+เดลี(21วัน)
สี่สังเวชฯ+สาญจี+อชันตา+เอโลร่า+มุมไบ (14วัน)
สี่สังเวชฯ+อัครา,ทัชมาฮาล+จัยปูร์+เดลี(11วัน)
ข้อมูลทวีปยุโรป
ข้อมูลทวีปยุโรป
ฝรั่งเศส
ลักเซมเบิร์ก
เยอรมนี
เบลเยียม
เนเธอร์แลนด์
อังกฤษ
อิตาลี
กรุงเทพ-ลอนดอน
ข้อมูลทวีปแอฟริกา (Africa)
ข้อมูลทวีปแอฟริกา
แอฟริกาใต้
ข้อมูลทวีปอเมริกา (America)
ข้อมูลทวีปอเมริกา
อเมริกา
สี่สังเวชฯ+อัครา,ทัชมาฮาล+ราชสถาน+เดลี (21วัน)

ค่าใช้จ่ายไม่ตำ่ 45,000 บาท


ค่าตั๋วเครื่องบิน และทัวร์สี่สังเวชฯ = 26,000 บาท
ค่าใช้จ่าย อัครา, ราชสถาน, เดลี
ออกใครออกท่าน
ค่ารถ
ค่าที่พัก

วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม 2562 สุวรรณภูมิ – โกลกัตตา

22.00น. พร้อมกันสนามบินสุวรรณภูมิ ชั้น4 ประตู3(ผู้โดยสารขาออก)เคาน์เตอร์ E สายการบินอินดิโก IndiGo Airline ( อาจมีการเปลี่ยนแปลงสายการบินในแต่ละครั้งบ้างตามความเหมาะสม)
23.00น. เช็คอิน, ส่งมอบสัมภาระ, ตรวจสอบบัตรที่นั่งหนังสือเดินทาง


วันเสาร์ที่ _ มีนาคม 2562 สุวรรณภูมิ – โกลกัตตา (วันที่ 1)


02.05 น. a.m. บินจากสุวรรณภูมิสู่โกลกัตตา อินเดีย อินดิโก เที่ยวบินที่ 6E 78
03.20 น. (เวลาของอินเดีย) ถึงท่าอากาศยานนานาชาติโกลกัตตา พิธีการตรวจคนเข้าเมือง – ศุลกากร
05.00 น. ออกจากสนามบินไป-พุทธคยา (400กม.8ชม.) ถวาย น้ำปานะ / บริการอาหารเช้า และกลางวัน
15.00 น. ถึงพุทธคยา และทำวัตรเย็น ณ ต้นพระศรีมหาโพธิ์
19.00 น. รับประทานอาหารค่ำ พักวัดไทยโพธิวิหาร



วันอาทิตย์ที่ 4 มีนาคม 2562 พุทธคยา/สถานที่ตรัสรู้ (วันที่ 2)


05.00 น. รับประทานอาหารเช้าที่วัดไทยโพธิวิหาร
08.30 น. ชมบ้านนางชมชาดา, ชมริมฝั่งแม่เนรัญชรา สถานที่พระพุทธเจ้าทรงอธิษฐานพระบารมี ลอยถาดทอง ท่าสุปปติฏฐะนำไหว้พระสวดมนต์ สาธยายพระไตรปิฎก ปฏิบัติธรรม, ประทักษิณาวรรต 3 รอบ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ และเจดีย์พุทธคยา
11.00 น. ถวายเพล/รับประทานกลางวันที่วัดไทยโพธิวิหาร
13.00 น. เจดีย์พุทธคยา, นมัสการสัตตมหาสถาน ได้แก่ อนิมิสเจดีย์ รัตนจงกรมเจดีย์ สระมุจลินท์
ชมวัดนานานชาติ อาทิ วัดญี่ปุ่น วัดจีน วัดธิเบต วัดสิขิม วัดภูฐาน ฯลฯ
17.00 น. ทำวัตรเย็น เจริญจิตภาวนา ภายใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์, ฟังบรรยาย, ถวายผ้า,
19.00 น. รับประทานอาหารค่ำและน้ำปานะ, ทอดผ้าป่าถวายวัดไทยโพธิวิหาร พักวัดไทยโพธิวิหาร



วันจันทร์ที่ 5 มีนาคม 2562 ราชคฤห์-นาลันทา/ วัดเวฬุวัน (วันที่ 3)

05.00 น. รับประทานอาหารเช้าที่วัดไทยโพธิวิหาร
06.00 น. ออกเดินทางจากวัดไทยโพธิวิหาร ไปราชคฤห์ นาลันทา
09.00 น. เดินขึ้นเขาคิชฌกูฏ, ถ้ำสุกรขาตาของพระสารีบุตร ถ้ำพระมหาโมคคัลลานะ ทำวัตรเย็น เจริญจิต ภาวนาเวียนรอบคันธกุฎี
11.00 น. ถวายเพล/รับประทานกลางวันที่วัดไทยนาลันทา
13.00 น. ชมบ้านพระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ, รอยเกวียน, วัดเวฬุวัน วัดแห่งแรกของโลก เกิดวันมาฆบูชา, มหาวิทยาลัยนาลันทาเก่า, ไหว้หลวงพ่อองค์ดำ, ชมโรงพยาบาลหมอ ชีวกโกมารภัจจ์, คุกคุมขังพระเจ้าพิมพิสาร, ตโปธาราม แร่น้ำร้อน
19.00 น. รับประทานอาหารค่ำและน้ำปานะ, พัก/ทอดผ้าป่าวัดไทยวัดไทยนาลันทา



วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2562 ไวสาลี/วัดป่ามหาวัน (วันที่ 4)

05.00 น. รับประทานอาหารเช้าวัดไทยนาลันทา
10.30น. ถวายเพล/รับประทานกลางวันที่วัดไทยไวสาลี
10.00น. ปาวาลเจดีย์ ปลงอายุสังขาร, วัดป่ามหาวัน แห่งแรกบวชภิกษุณี, สถูปเจดีย์, เสาหินศิลาจารึกพระเจ้าอโศก (สิงห์ สมบูรณ์ที่สุด)
11.30น. ถวายเพล/รับประทานกลางวันที่วัดไทยไวสาลี และทอดผ้าป่า
19.00 น. รับประทานอาหารค่ำและน้ำปานะ, ทอดผ้าป่า พักวัดไทยกุสินารา



วันพุธที่ 7 มีนาคม 2562 กุสินารา/สถานที่ปรินิพพาน (วันที่ 5)

05.00 น. ถวายภัตตาหาร/รับประทานอาหารเช้า 06.00 น. สวนสาลวโนทยาน, มหาปรินิพพานสถูป (พระเจ้าอโศกสร้าง), 06.00น. สวนสาลวโนทยาน, มหาปรินิพพานสถูป (พระเจ้าอโศกสร้าง) มหาปรินิพพานวิหาร (โอปูคยู ชาวพม่าสร้าง), พระพุทธรูปปางปรินิพพาน (ช่างมถุรา ชื่อถินา สร้าง) น้ำตา ผู้แสวงบุญต้องออก เหมือนราวกับว่าพระองค์จากไปไม่นาน, มกุฏพนธนเจดีย์, (ห่าง 1กม.) ถวายพระเพลิง กำเนิดวันอัฏฐมีบูชา, 11.30 น. ถวายเพล/รับประทานกลางวัน วัดไทย 960 13.30 น. ผ่านด่านโสเนาลี พรมแดนอินเดีย – เนปาล พิธีการตรวจคนเข้าเมือง (ไปอีก 25 กม.) 19.00 น. รับประทานอาหารค่ำและน้ำปานะ, ทอดผ้าป่า/พักวัดไทยลุมพินี ประเทศเนปาล



วันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม 2562 สวนลุมพินี/สถานที่ประสูติ (วันที่6)

05.00 น. ถวายภัตตาหาร/รับประทานอาหารเช้า
06.00 น. ทำวัตรเช้า ถวายผ้าห่ม, เสาศิลาหินศิลาจารึกพระเจ้าอโศก, สระโบกขรณี, มายาเทวีวิหาร ภาพหินสลักประสูติ, รอยพระบาทพระกุมาร, ซากอูฐโบราณ อายุประมาณ 2,300 ปี
09.00น. ออกจากสวนลุมพินี ไปสาวัตถี (ออกจากฝั่งประเทศเนปาล)
11.30 น. ถวายเพล/รับประทานกลางวัน
19.00 น. รับประทานอาหารค่ำและน้ำปานะ, ทอดผ้าป่า/พักถวายวัดไทยเชตวัน



วันศุกร์ที่ 9 มีนาคม 2562 สาวัตถี/วัดพระเชตวันมหาวิหาร (วันที่ 7)

05.00 น. ถวายภัตตาหารเช้า/รับประทานอาหารเช้า วัดไทยเชตวัน
06.00 น. ยมกปาฏิหาริย์ ชมบ้านองคุลิมาล, บ้านอนาถปิณฑิกเศรษฐี, ชมวัดเชตวันมหาวิหาร ฟังบรรยายสถานที่ต่าง ๆ ทำวัตรเย็น เวียนเทียน
10.30 น. ถวายเพล/รับประทานกลางวัน
11.30 น. ออกเดินไปพาราณสี
21.30น. รับประทานอาหารเย็น, ทอดผ้าป่า/พักวัดไทยสารนาถ



วันเสาร์ที่ 10 มีนาคม 2562 สารนาถ /แสดงปฐมเทศนา (วันที่ 8) 1

05.00 น. ล่องเรือแม่น้ำคงคา สุสานตำนานไฟไม่ดับ 4 พันปี ลอยกระทง, ดูการอาบน้ำชำระบาปชาวฮินดู
08.00 น. รับประทานอาหารเช้าที่วัดไทยสารนาถ
09.00 น. ป่าอิสิฯ กำเนิดวันอาสาฬหบูชา, ธัมเมกขสถูป แสดงธัมมจักร, ธัมมราชิกาสถูป, เสาหินอโศก (จตุรสิงห์), มูลคันธกุฎี, ยสเจดีย์ พบยสะครั้งแรก, เจาคันธีสถูป จุดพบปัญจวัคคีย์ครั้งแรก ชมพิพิธภัณฑ์สารนาถ พุทธรูปปางปฐมเทศนา,
11.00 น. ถวายเพล/รับประทานกลางวันที่วัดไทยสารนาถ
12.30 น. ออกเดินทางจากไทยสารนาถ-ไปพุทธคยา (แยกกันระหว่างคณะ)
17.00 น. บินพาราณสี - เดลี



วัน ที่ มีนาคม 2562 (วันที่9) 2

เมืองอักรา (Agra) เคยเป็นเมืองหลวงสำคัญของอินเดียในยุคศตวรรษที่ 16 ตั้งอยู่ริมฝั่งของแม่น้ำยมุนา นับเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่สุดเป็นอันดับสามของรัฐอุตรประเทศ
เมืองอักรา (Agra)
ทัชมาฮาล (Taj Mahal) เป็นอนุสรณ์สถานตั้งอยู่ในเมืองอัครา ประเทศอินเดีย นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก ยุคใหม่เป็นสุสานหินอ่อน ที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักที่สวยที่สุดในโลก สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระจักรพรรดิโมกุลผู้มีรักมั่นคงต่อพระมเหสีของพระองค์ เจ้าชายขุร์รัม ชึ่งต่อมาคือสมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮันเมื่อพระองค์มีพระชนมายุ 14 พรรษา พระองค์ทรงหลงใหลและหลงรักนาง เจ้าชายขุร์รัมจึงซื้อเพชรด้วยเงิน 10,000 รูปีและบอกแก่พระบิดาของพระองค์ว่า พระองค์มีความประสงค์ที่จะแต่งงาน กับบุตรสาวของรัฐมนตรี พิธีอภิเษกถูก จัดขึ้นหลังจากนั้น 5 ปี ในปี พ.ศ. 2155 (ค.ศ. 1612) จากนั้นมาทั้งสองก็มิเคยอยู่ห่างกันอีกเลย) ครั้นในปี พ.ศ. 2174 (ค.ศ. 1631) พระมเหสีมุมตัซสิ้นพระชนม์ หลังจากให้กำเนิด ทายาทองค์ที่ 14

ป้อมอัคราฟอร์ด ( Agra Fort ) เป็นที่ประทับและสถานที่ถูกกักขังกษัตริย์ ชาห์จาฮัน ซึ่งเป็นบุคคลที่สร้างทัชมาฮาล โดยลูกของพระองค์เองป้อมอัคราฟอร์ด เป็นป้องที่ตั้งอยู่ห่างจาก ทัชมาฮาล ราวๆ 2 กม. เป็นอาคารที่สร้างด้วยหินทรายและหินอ่อน ภายในป้อมมีอาคาร ที่สำคัญมากมาย ซึ่งล้อมรอบด้วยกำแพง ที่สร้างป้อมอัคราฟอร์ดมีลักษณะคล้ายเชิงเทิน โดยใช้วัสดุและการออกแบบที่เชี่ยวชาญ ผสมผสานให้มีรูปลักษณ์ที่สวยงาม


วัน ที่ มีนาคม 2562 เมืองชัยปุระ (Jaipur) (วันที่10) 3

รัฐราชสถาน (Rajasthan)
รัฐราชสถาน (Rajasthan) ชัยปุระ (ฮินดี: ?????, อักษรโรมัน: Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1727 โดยมหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ที่ 2" เจ้าครองนครอาเมร์ (Amer) ในปัจจุบันชัยปุระยังเป็นที่รู้จักกันดีในอินเดียว่า "นครสีชมพู"ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย ติดกับประเทศปากีสถาน เมืองหลวง : คือเมืองชัยปุระ (Jaipur) หรือ จัยปูร์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของรัฐราชสถาน คือ ทะเลทราย Thar
ชัยปุระ ( อักษรโรมัน: Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1727 โดยมหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ที่ 2" เจ้าครองนครอาเมร์ (Amer) ในปัจจุบันชัยปุระยังเป็นที่รู้จักกันดีในอินเดียว่า "นครสีชมพู"
- พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal)
- หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
- ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort)
- จาล มาฮาล (Jal Mahal)
- อัลเบิร์ตฮอลล์ (Albert Hall)
- เบียร์ล่ามันเดียร์ (Birla Mandir) หรือ วัดลักษมีนารายัน (Laxmi Narayan)
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) ฮาวา มาฮาล (Hawa Mahal) แปลว่าพระราชวังแห่งสายลม
หอดูดาวจันตาร์มันตาร์ (Jantar Mantar)
ป้อมนราห์การห์ (Nahargarh Fort) ป้อมไทเกอร์ (Tiger Fort) สร้างในปี ค.ศ. 1734 ในสมัยมหาราชาสะหวายจัย ซิงห์ที่ 2
2. จาล มาฮาล (Jal Mahal) พระราชวังกลางน้ำซึ่งตั้งเด่นสง่าอยู่กลางทะเลสาบมันสกา (Man Sagar)
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort) หรือ ป้อมแอมเบอร์ (Amber Fort) ตั้งอยู่ที่เมืองแอมแมร์ รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย สร้างโดยมหาราชามาน สิงห์ที่ 1 ด้านสถาปัตยกรรมผสมผสานกันระหว่างศิลปะฮินดูและศิลปะราชปุต
ป้อมแอมแมร์ ( Amer Fort)
4. อัลเบิร์ตฮอลล์ (Albert Hall) หรือพิพิธภัณฑ์กลางของเมืองชัยปุระ สถาปัตยกรรมของอังกฤษ ด้านในจะจัดแสดงวิถึชีวิตของชนกลุ่มน้อยในราชสถาน และยังมีห้องสมุด และภาพวาดแบบย่อส่วน (Miniature Painting) ในสมัยของโมกุล
5. เบียร์ล่ามันเดียร์ (Birla Mandir) หรือ วัดลักษมีนารายัน (Laxmi Narayan) เป็นวัดฮินด สร้างโดยมหาเศรษฐีชาวอินเดีย ของฝากจากจัยปูร์

Bikaner วัดหนู

วัน ที่ มีนาคม 2562 เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer) (วันที่17) 4

เมืองจัยแซลเมอร์ (Jaisalmer) นครสีทอง เนื่องจากอาคารบ้านเรือนสร้างด้วยหินทรายสีเหลืองนวล โดยตั้งอยู่บนที่ราบสูงทะเลทรายธาร์ (Thar Desert) เป็นเมืองชายแดนติดพรมแดนปากีสถาน อีกทั้งในอดีตเคยเป็นเส้นทางการค้าที่ สำคัญ ระหว่างอินเดียกับตะวันออกกลาง

5. เมืองจัยสอลแมร์ (Jaisalmer)
- ทะเลทราย (Desert)
- ป้อมปราการ (Jaisalmer Fort)
- วัดเชน (Jain Temple)
- วัดพระราชวัง (Mandir Palace)
- พิพิธภัณฑ์โกธารี (Kothari's Patwa Haveli Meseum)
- ทะเลสาบ (Lake)


วัน ที่ มีนาคม 2562 จ๊อดปูร์ (Jodhpur) (วันที่16) 7

จ๊อดปูร์ (Jodhpur) เมืองโรแมนติกแห่งนครสีฟ้า “จ๊อดปูร์” (Jodhpur) หรือเมือง โยธะปุระ นครนักรบ ที่ทั่วทั้งเมืองเป็นสีฟ้าราวกับน้ำทะเล เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในแคว้นราชาสถาน ถูกตั้งขึ้นเป็นราชธานี โดย Rao Jodha แห่งราชวงศ์Rathor เมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูวรรณะพราหมณ์เท่านั้น แต่ต่อมา มีความเชื่อว่า สีฟ้าจะช่วยกันแมลงและทำให้บ้านเย็นในฤดูร้อน ผู้คนจึงพากันทาบ้านตัวเองด้วยสีฟ้า จนกลายเป็นสัญญลักษณ์ของเมืองจ๊อดปูร์

- ป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort)
- อนุสรณ์สถานจัสวันต์ธาดา (Jaswant Thada)
- อูเมด ภาวัน (Umaid Bhawan)
ป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort) เป็น 1 ใน 4 พระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
ภายในป้อมเมห์รานการห์ จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
อนุสรณ์สถานจัสวันต์ธาดา (Jaswant Thada) สร้างจากหินอ่อน จ๊อดปูร์ (Jodhpur)

อูเมด ภาวัน (Umaid Bhawan) สร้างขึ้นสร้างเมื่อ พ.ศ. 2472 มีอายุแค่ 76 ปี สร้างโดย มหาราชาอุเมด ซิงห์ (MAHARAJA UMAID SINGH) มีห้องทั้งหมด 347 ห้อง ใช้เวลาสร้าง 15 ปี ตัวพระราชวังได้รับการออกแบบจากสองสถาปนิกชาวอังกฤษ ตกแต่งแบบ อินโด-โคโลเนียล สร้างด้วยหินทรายสีเนื้อ อยู่บนเนินเขาสูง จ๊อดปูร์ (Jodhpur) หอนาฬิกา (clock tower) จ๊อดปูร์ (Jodhpur)
วัดเชน (Jain Temple) รานัคปุระ (Ranakpur)
วัน ที่ มีนาคม 2562 อุไดปูร์ (Udaipur) (วันที่15) 7



วัน ที่ มีนาคม 2562 อุไดปูร์ (Udaipur) (วันที่15) 8

อุไดปูร์ (Udaipur) เมืองท่องเที่ยวที่รู้จักกันในชื่อ เวนิสแห่งตะวันออก และ เมืองแห่งทะเลสาบ
- พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
- ทะเลสาบพิโคล่า (Pichola)
- วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
- กระเช้า (Rope way)
พระราชวังซิตี้พาเลซ (City Palace) หรือพระราชวังฤดูหนาว
ทะเลสาบพิโคล่า (Pichola)
วัดจักดิศ (Jagdish Temple)
กระเช้า (Rope way)
หอนาฬิกา


วัน ที่ มีนาคม 2562 เมืองแอชแมร์ (Ajmer) (วันที่14) 9

ตัวเมืองแอชแมร์
- วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
- พิพิธภัณฑ์แอชแมร์ (Museum Ajmer)
- ป้อมตาราการห์ (Taragarh Fort Ajme)

ทะเลสาบพุชการ์ (Pushkar Lake)
เทศกาลอูฐ (Pushkar Camel Fair)
วัดพราหมณ์ (Brahma temple)
วัดรังจีใหม่ (New Rangji Temple)
วัดรังจีเก่า (Old Rangji Temple)
กูรูดัวรา (Gurudwara)
ตัวเมืองแอชแมร์
วัดเชนนาเรียนลี (Nareli Jain Temple)
หอนาฬิกา
พิพิธภัณฑ์ เมืองแอชแมร์ (Ajmer)
ป้อมตาราการห์ (Taragarh Fort Ajmer)
ร้านอาหาร เมืองแอชแมร์ (Ajmer)


วัน ที่ มีนาคม 2562 ดิลลี (Delhi) (วันที่19) 10

เดลี หรือในชื่อท้องถิ่นว่า ดิลลี (Delhi) ชื่อเต็มคือ National Capital Territory of Delhi (NCT) เป็นมหานครที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของอินเดียและมีประชากรมากเป็นอันดับสองของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ เดลีเก่า และเดลีใหม่ (นิวเดลี) ซึ่งเป็นเมืองหลวงปัจจุบันของอินเดีย


วัน ที่ มีนาคม 2562 ดิลลี (Delhi) (วันที่19) 11

ประตูเมืองอินเดีย (India Gate) คล้ายคลึง L’ Arc de Triomphe ของ ฝรั่งเศส มีความมุ่งหมายให้เป็นอนุสรณ์แก่ทหารที่พลีชีวิตในสงครามครั้งสำคัญๆ ของอินเดี

ป้อมแดง (Red Fort) สร้างขึ้นจากหินทรายแดง เป็นพระราชวังของชาห์ เชฮันพระเจ้าแผ่นดินองค์หนึ่งของราชวงศ์โมกุล

วัดลักษมีนารายัน (Lakshmi Narayan Temple) วัดลักษมีนารายันหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Birla Mandir ตามชื่อของผู้สร้าง คือ นาย Raja Baldev Birla ซึ่งเป็นนักธุรกิจ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2481 เพื่อบูชาพระนารายณ์ (พระผู้พิทักษ์โลก) และพระลักษมี (เทพแห่งความมั่งคั่ง)

วัดอักชาร์ดัม (Akshardham temple) ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบฮินดูที่มีขนาดใหญ่สร้างขึ้นโดย Pramukh Swami Maharaj ผู้นำนิกาย Swami Narayan ของศาสนาฮินดู เป็นศูนย์รวมเกี่ยวกับอารยะธรรมอินเดีย

กุตับมีนาร์ (Qutab Minar) ความสูงของหอนี้รวมทั้งหมด 238 ฟุต แบ่งออกเป็น 5 ชั้น

วัดบาไฮ (Bahai Temple) เป็นที่รู้จักในนามว่าวัดดอกบัว (Lotus Temple) เป็นสถาปัตยกรรมที่นำสมัยมากที่สุดชิ้นหนึ่งของกรุงนิวเดลี โดยมีลักษณะเป็นรูปดอกบัวบาน

ราษฎร์ปติภวัน (Rashtrapati Bhavan) หรือทำเนียบประธานาธิบดีของอินเดีย ตั้งอยู่ ที่ต้นถนน Rajpath ด้านตะวันตกบนเนิน ที่เรียกว่า Raisina Hill ตรงข้ามกับ India Gate ซึ่งอยู่ปลายถนนด้านตะวันออก เดิมเคยใช้เป็นวังของอุปราชอังกฤษในสมัยอาณานิคม มีห้องถึง 340 ห้อง ออกแบบโดย Sir Lutyens สร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1929 เป็นสถาปัตยกรรมผสมระหว่างตะวันตกกับศิลปะโมกุล ตัวห้องโถงที่เรียกว่า Durbar Hall มีโดมขนาดใหญ่แบบอินเดียทำด้วยทองแดงอยู่ด้านบน ใช้เป็นที่ประกอบพิธีสำคัญๆของทางการ ทางทิศตะวันตกมีสวนโมกุล (Mughal Garden)

พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอินเดีย (National Museum, Delhi) ตั้งอยู่ที่ถนน Janpath กรุงนิวเดลี เป็นสถานที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุและศิลปกรรมของอินเดียมากกว่า 150,000 ชิ้น ที่ตกทอดมาตั้งแต่อารยะธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (Indus Valley relics) แสดงความเป็นมาของประวัติศาสตร์อินเดียที่มีอายุกว่า 5000 ปีรวมทั้งศิลปกรรมอันล้ำค่าของเอเชียกลางจากเส้นทางสายไหม

พิพิธภัณฑ์มหาตมคานธี (Gandhi Memorial Museum) ตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับราชฆาฏ เป็นที่แสดงภาพถ่าย เอกสารต้นฉบับที่เขียนด้วยลายมือของมหาตมคานธี ตลอดจนสิ่งของส่วนตัวของมหาตมคานธี รวมทั้งมีห้องสมุดที่รวบรวมผลงานของคานธีและหนังสืออื่นๆที่เกี่ยวข้องด้วย

กัมมาสธัมมะนิคม (Asokan Rock Edict) ตั้งอยู่ในเขตไกรลาศตะวันออก กรุงนิวเดลี พระพุทธเจ้าเคยเสด็จฯมา เพื่อทรงแสดงธรรมมหาสติปัฏฐานสูตร ในนครอินทรปัตถ์ให้แก่ชาวกุรุ ณ เมืองที่เรียกว่า “กัมมาสธัมมะนิคม” ตรงจุดที่พระพุทธเจ้าแสดงธรรมเทศนา กองหินซึ่งมีข้อความจารึกด้วยอักษรพราหมมี กัมมาสธัมมะนิคมอยู่ในความดูแลของกองโบราณคดี กระทรวงวัฒนธรรมอินเดีย ซึ่งได้ประกาศไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ว่า สถานที่ดังกล่าวเป็นอนุสรณ์สถาน

รถไฟใต้ดินเดลี เมโทร (metro) เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงที่ให้บริการในกรุงนิวเดลีและปริมณฑล เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่ยาวเป็นอันดับที่สิบสามของโลก ประกอบด้วย 6 เส้นทาง รวมระยะทางได้ 189.63 กิโลเมตร (117.83 ไมล์) จำนวน 142 สถานี โดยเป็นสถานีใต้ดิน 35 สถานี สถานีเสมอระดับ 5 สถานี และที่เหลือเป็นสถานียกระดับ ทุกสถานีมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบทุกอย่าง เส้นทางมีทั้งแบบใต้ดิน เสมอดิน และยกระดับ ใช้ราง broad gauge และรางมาตรฐาน สร้างและดำเนินการโดย Delhi Metro Rail Corporation Limited (DMRC) เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2010 มีรถไฟฟ้าจำนวน 2,700 เที่ยวต่อวัน ให้บริการเวลา 06:00-23:00 น. ความถี่ประมาณ 2 นาที 40 วินาทีรถไฟฟ้าจะพ่วงรถ 4-6 คันต่อขบวน แต่ถ้ามีผู้โดยสารมาก ก็จะเพิ่มเป็น 8 คันต่อขบวน[8] โดยสายสีเหลืองเป็นสายแรกที่มี 8 คันต่อขบวน ใช้พลังไฟฟ้า 25 กิโลโวลต์ 50 เฮิร์ตซ์ ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยรับส่งไฟฟ้าผ่านทางลวดไฟฟ้าเหนือหัว สถิติผู้โดยสารเฉลี่ยรายวันคือ 2.5 ล้านคน

วัน ที่ มีนาคม 2562 (วันที่21)

บินจากเดลี - ไทย
DEL - BKK







โพธิสิกขาลัย (Bodhisikkhalai)
โทร 0-3587-3065, 085-7777-184 แฟกซ์ 0-3587-3058
Line ID: 0857777184
เว็บไซต์ : www.bodhisikkhalai.com
อีเมล: bodhisikkhalai@gmail.com


Copyright © 2011 All Rights Reserved